TLSOA (Thailand lesson study incorporated with open approach)

kknews-“สถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู มข”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติ

“สถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู มข”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติ   สำนักข่าว  :  kknews.in.th URL  :   https://www.kknews.in.th/content/15105/ วันที่เผยแพร่  :  11  Feb  2025 

kknews-“สถาบันวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครู มข”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติ Read More »

banmuang-“มข.”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติครั้งที่ 18 ยกระดับการศึกษาไทยด้วยนวัตกรรม TLSOA พร้อมขยายผลความสำเร็จกว่า 300 โรงเรียนทั่วประเทศ 



“มข.”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติครั้งที่ 18 ยกระดับการศึกษาไทยด้วยนวัตกรรม TLSOA พร้อมขยายผลความสำเร็จกว่า 300 โรงเรียนทั่วประเทศ 
   สำนักข่าว  :  banmuang.co.th URL  :  https://www.banmuang.co.th/news/region/417142 วันที่เผยแพร่  : 10  Feb  2025  Link ข่าวต้นฉบับ :  https://th.kku.ac.th/en/214552/

banmuang-“มข.”จัดเปิดชั้นเรียนระดับชาติครั้งที่ 18 ยกระดับการศึกษาไทยด้วยนวัตกรรม TLSOA พร้อมขยายผลความสำเร็จกว่า 300 โรงเรียนทั่วประเทศ 

 Read More »

The 17th  National Open Class: TLSOA มหกรรมการเปิดชั้นเรียนระดับชาติ บทพิสูจน์การพัฒนาศักยภาพการศึกษาไทย

การเปิดชั้นเรียน หรือ Open Class  เป็นกระบวนการในการพัฒนาวิชาชีพครู (Teaching Profession) โดยมีพื้นที่ ในการพัฒนาใช้ห้องเรียนจริง (Live Classroom) เพื่อค่อยๆ ทำความเข้าใจ “ความสลับซับซ้อนของชั้นเรียน” และ “วิธีการแก้ปัญหา” (ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์, 2557) ถือเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งในการทำงานเชิงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษา ที่ต้องอาศัยการวิจัยและพัฒนาทางด้านการสอน      เมื่อการเปิดชั้นเรียนเป็นหัวใจสำคัญอย่างหนึ่งในการทำงานเชิงนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ต้องอาศัยการวิจัยและพัฒนาทางด้านการสอน    ดังนั้นเมื่อเกือบ 20 ปีที่ผ่านมา ศูนย์วิจัยคณิตศาสตรศึกษาในขณะนั้นเป็นองค์กรนำร่องที่นำคำศัพท์นี้เข้ามาพร้อมๆกับโครงการ APEC Lesson Study พร้อมกับเริ่มจัดกิจกรรมเปิดชั้นเรียนที่โรงเรียนนำร่อง การใช้นวัตกรรมการศึกษาชั้นเรียน และวิธีการแบบเปิด ครั้งที่ 1 ขึ้น เมื่อปี 2550 โดยมีรูปแบบการเปิดชั้นเรียนที่ครูไม่ได้สอนนักเรียนของตนเอง เพื่อเป็นการให้เห็นว่านวัตกรรมดังกล่าวสามารถเริ่มต้นใช้ได้กับนักเรียนที่ไม่มีประสบการณ์ในการเรียนแบบนี้มาก่อนในทุกพื้นที่ของประเทศไทย ซึ่งในประเทศญี่ปุ่นได้รับการพัฒนามามากกว่า 152 ปี โดยมีจุดเน้น คือ  เป้าหมายหลักของการพัฒนาอยู่ที่พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนใน “ชั้นเรียน”, พื้นที่ในการพัฒนาใช้ “ห้องเรียนจริง” (Live Classroom), เป้าหมายรองของการพัฒนาอยู่ที่การเรียนรู้ร่วมกันของครู (Teacher Learning) เพื่อจะเข้าใจนักเรียน และเน้นการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของการพัฒนา (Isoda, 2005;

The 17th  National Open Class: TLSOA มหกรรมการเปิดชั้นเรียนระดับชาติ บทพิสูจน์การพัฒนาศักยภาพการศึกษาไทย Read More »

เลื่อนไปด้านบน