Research, Khon Kaen University

banmuang-มข. เปิด KKU Market: ตลาดออนไลน์สินค้า มข.

มข. เปิด KKU Market: ตลาดออนไลน์สินค้า มข.   สำนักข่าว  :  banmuang.co.th URL  :  https://www.banmuang.co.th/news/region/420511 วันที่เผยแพร่  :  07  Mar 2025 ลิ้งก์ข่าวต้นฉบับ  :  https://th.kku.ac.th/217928/

banmuang-มข. เปิด KKU Market: ตลาดออนไลน์สินค้า มข. Read More »

mgronline-ม.ขอนแก่นเปิดตัวแพลตฟอร์ม KKU Market ลุยตลาดออนไลน์ขายสินค้าจากงานวิจัยเชิงพาณิชย์

ม.ขอนแก่นเปิดตัวแพลตฟอร์ม KKU Market ลุยตลาดออนไลน์ขายสินค้าจากงานวิจัยเชิงพาณิชย์   สำนักข่าว  :  mgronline.com URL  :  https://mgronline.com/local/detail/9680000021892 วันที่เผยแพร่  :  06  Mar 2025 ลิ้งก์ข่าวต้นฉบับ  :   https://th.kku.ac.th/217928/

mgronline-ม.ขอนแก่นเปิดตัวแพลตฟอร์ม KKU Market ลุยตลาดออนไลน์ขายสินค้าจากงานวิจัยเชิงพาณิชย์ Read More »

KKU Enterprise x Techstack Solution join forces to launch “KKU Market”, an online shopping market - quality innovation from KKU.

On Thursday, March 6, 2025, Khon Kaen University organized a signing ceremony for a Memorandum of Understanding (MOU) between Khon Kaen University, KKU Enterprise Center, and Techstack Solution Co., Ltd. to develop KKU Market. Assoc. Prof. Dr. Chanchai Panthongviriyakul, President of Khon Kaen University, presided over the ceremony, and Assoc. Prof. Dr. Pensri Charoenwanich, CEO of KKU Enterprise Center, Mr. Chamnan Kamsawat, Founder of Techstack Solution Co., Ltd., and Ms. Namfon Kaewkhieo, Customer Relationship Manager, were present, along with leaders of 8 economic organizations in Khon Kaen Province, university executives, lecturers, distinguished guests, and the media who witnessed the signing at the Sarasin Meeting Room, 2nd Floor, Sirikunakorn Building, Office of the President, Khon Kaen University. Assoc. Prof. Dr. Chanchai Panthongviriyakul

KKU Enterprise x Techstack Solution join forces to launch “KKU Market”, an online shopping market - quality innovation from KKU. Read More »

สุดล้ำ! มข.วิจัยต้นแบบเปลี่ยนของเสียจากอุตสาหกรรมน้ำตาล-เอทานอล เป็นพลังงานชีวภาพ ลดโลกร้อน- Zero Waste

การแก้ปัญหามลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม รวมถึงการจัดการของเสีย หรือชีวมวล นับเป็นโจทย์ท้าทายสำหรับโรงงานอุตสาหกรรมที่ไม่เพียงต้องการกำจัดของเสียอย่างถูกวิธี แต่ยังต้องการใช้ประโยชน์จากสิ่งเหล่านี้ให้ได้มากที่สุดและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แม้จะเป็นโจทย์ใหญ่ในโรงงานอุตสาหกรรม แต่สำหรับ ศาสตราจารย์ ดร.อลิศรา เรืองแสง อาจารย์ประจำสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยขอนแก่น และทีมนักวิจัยนั้นมีคำตอบและวิธีการเพื่อแก้โจทย์นี้ได้อย่างสมบูรณ์แบบ ศาสตราจารย์ ดร.อลิศรา กล่าวว่า งานวิจัยเรื่อง การย่อยร่วมน้ำทิ้งจากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพและกากหม้อกรอง เพื่อผลิตไฮโดรเจนและมีเทนแบบสองขั้นตอน เป็นโจทย์วิจัยจาก บริษัท บีบีจีไอ ไบโอเอทานอล จำกัด (มหาชน) สาขาน้ำพอง ที่ต้องการนำ “กากหม้อกรอง” ซึ่งเป็นตะกอนที่เหลือจากการกรองแยกน้ำอ้อยด้วยเครื่องกรองในกระบวนการผลิตน้ำตาลมาย่อยร่วมกับน้ำทิ้งที่เหลือจากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพ “มหาวิทยาลัยขอนแก่นเปิดพื้นที่ให้นักศึกษาปริญญาเอกได้ทำงานวิจัยร่วมกับอุตสาหกรรม โดยแก้ปัญหาโจทย์วิจัยจากอุตสาหกรรมมาบูรณาการองค์ความรู้ที่โรงงานต้นแบบไบโอไฮเทน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้เป็นดุษฎีนิพนธ์ของ นายวรพงศ์ วงค์อามาตย์ นักศึกษาในโครงการพัฒนานักวิจัยและงานวิจัยเพื่ออุตสาหกรรม (พวอ.) จากสาขาวิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเทคโนโลยี” สำหรับน้ำทิ้งที่เหลือจากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพนั้น เป็นน้ำกากส่าจากอุตสาหกรรมผลิตเอทานอลที่ถูกนำไปผลิตแก๊สชีวภาพแต่ยังมีค่าความสกปรกและสารอินทรีย์หลงเหลืออยู่สูง ซึ่งยังไม่สามารปล่อยออกสู่สิ่งแวดล้อมได้ จึงได้นำน้ำเสียนั้นมาใช้ประโยชน์ในการผลิตพลังงาน โดยการนำมาย่อยร่วมกับกากหม้อกรองเพื่อผลิตไฮโดรเจนและมีเทนด้วยกระบวนการย่อยแบบไร้อากาศสองขั้นตอน จากกระบวนการดังกล่าวพลังงานที่ได้ คือ พลังงานชีวภาพในรูปแบบแก๊สไฮโดรเจนและแก๊สมีเทน โดยขั้นตอนแรกนั้นจะได้แก๊สไฮโดรเจนออกมา ส่วนขั้นตอนที่สองจะได้แก๊สมีเทน “งานวิจัยนี้มีผู้สนใจจำนวนมาก สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการใช้ประโยชน์จากของเหลือทิ้งอุตสาหกรรม8/8เกษตรโดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมผลิตน้ำตาลและเอทานอล ซึ่งเทคโนโลยีที่ได้จะถูกถ่ายทอดไปยังบริษัทที่ให้โจทย์วิจัยเพื่อนำไปต่อยอดในระดับอุตสาหกรรม ขณะเดียวกัน ทางทีมวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่นก็ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ และยื่นจดอนุสิทธิบัตรแล้ว” ทั้งนี้ ศาสตราจารย์ ดร.อลิศรา กล่าวว่า กระบวนการผลิตไฮโดรเจนและมีเทนแบบสองขั้นตอนโดยการย่อยร่วมน้ำทิ้งจากกระบวนการผลิตแก๊สชีวภาพและกากหม้อกรองนี้

สุดล้ำ! มข.วิจัยต้นแบบเปลี่ยนของเสียจากอุตสาหกรรมน้ำตาล-เอทานอล เป็นพลังงานชีวภาพ ลดโลกร้อน- Zero Waste Read More »

Scroll to Top